สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา

นายแก่นเพชร แฝงสีพล

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการสอนพระพุทธศาสนา

พม.ชัชวาลย์ ฐิตุโณ

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการสอนพระพุทธศาสนา

พระณฐโชค สุวโจ

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการสอนพระพุทธศาสนา

นายประเสริฐ ชมพรมมา

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการสอนพระพุทธศาสนา

นายวุฒิชัย เยาวโพธิ์

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการสอนพระพุทธศาสนา

รหัสและชื่อหลักสูตร   
 ประเภทการขอรับทราบ หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงแบบแยก)  
 จำนวนปริญญา หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
 เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน 2558  
 วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ 27/03/2562  
 ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน 2562 
  หลักสูตรสังกัดคณะ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน 
  เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 
  ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ. 2559 
     
 1.1.1 ชื่อภาษาไทย:หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา (4ปี)  
 1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ:Bachelor of Education Program in Teaching Buddhism  
 1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน:สถานที่จัดการเรียนการสอนอื่นๆ (โปรดระบุ):มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
ระบบจัดการศึกษา  
 1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ 
 1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน ไม่มี 

3.1 หลักสูตร

3.1.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า151หน่วยกิต

3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร

  1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                    30      หน่วยกิต

          (1) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                                6        หน่วยกิต

          (2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                               6        หน่วยกิต

          (3) กลุ่มวิชาภาษา                                      12      หน่วยกิต

          (4) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์               6        หน่วยกิต

  1. หมวดวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า                                 115     หน่วยกิต

          (1)กลุ่มวิชาเฉพาะทางพระพุทธศาสนา                           18      หน่วยกิต

                   – วิชาบังคับเรียน                                       12      หน่วยกิต

                   – วิชาเลือกเรียน                                        6        หน่วยกิต

          (2)กลุ่มวิชาชีพครูไม่น้อยกว่า                                     35      หน่วยกิต

                   – รายวิชาชีพครู                                         23      หน่วยกิต

                   – การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา          12      หน่วยกิต

          (3)กลุ่มวิชาเฉพาะทางการสอนพระพุทธศาสนา                 62      หน่วยกิต

                    – วิชาเอกบังคับเรียน                                   42หน่วยกิต

                   – วิชาบังคับเลือก                                                 20หน่วยกิต

  1. 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า                              6        หน่วยกิต

                                                รวม                         151     หน่วยกิต

 

ข่าวอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มมร.อส

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ (นักศึกษาใหม่) รอบที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2566

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ (นักศึกษาใหม่) รอบที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2566 ให้ผู้มีรายชื่อดังกล่าว scan เข้ากลุ่มตาม QR…

โครงการ KM Day (Online) คณะกรรมการการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

คณะกรรมการการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ดำเนินการจัดทำ KM ทั้งหมด 5 ด้าน  1. ด้านปริยัติ…

การฝึกอบรมกรรมฐานนักศึกษาบรรพชิต ชั้นปีที่ 4-5 ทุกสาขาวิชา

การฝึกอบรมกรรมฐานนักศึกษาบรรพชิต ชั้นปีที่ 4-5 ทุกสาขาวิชา ภาคปกติและภาคพิเศษ ณ วัดถ้ำเพียอินทร์ เทือกเขาภูพานคำ อุดรธานี หนองบัวลำภู…

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ (นักศึกษาใหม่) รอบที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2566

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ (นักศึกษาใหม่) รอบที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2566 ให้ผู้มีรายชื่อดังกล่าว scan เข้ากลุ่มตาม QR…

 การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 2 ปี 2566

หลักการและเหตุผล ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เห็นได้ชัดจากปรากฏการณ์การแพร่ระบาดโรคระบาดโควิด- 19 การปรับตัวของคนหลากหลายอาชีพโดยเฉพาะแวดวงการศึกษาต้องปรับตัวเพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงบนหลักการปรับตัวในยุค Disruption การศึกษาจึงเป็นหนึ่งในรากฐานสำคัญเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คน ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสังคมโดยรวมให้ดีขึ้น จึงไม่น่าแปลกที่ทุกองค์การทั้งในระดับโลก ระดับประเทศ…