สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

ดร.จักรี ศรีจารุเมธีญาณ

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์

พระมหาชัยชนะ ชยชโน

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์

นายก้องพิพัฒน์ กองคำ

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์

นายสุรศักดิ์ อุดเมืองเพีย

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์

นายพงษ์มนัส ดีอด

อาจารย์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์

ข้อมูลหลักสูตร

ประเภทการขอรับทราบ หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)
จำนวนปริญญา หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา
เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน 2565
วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ 27/03/2566
ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน 2566
หลักสูตรสังกัดคณะ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561


1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Public Administration Program in Public Administration
1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : สถานที่จัดการเรียนการสอนอื่นๆ (โปรดระบุ):มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

โครงสร้างหลักสูตร

1. โครงสร้างหลักสูตร
1.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 134 หน่วยกิต
 
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป   24   หน่วยกิต
1) รายวิชาบังคับเรียน 18 หน่วยกิต
2) รายวิชาเลือกเรียน  6  หน่วยกิต
 
ข. หมวดวิชาเฉพาะ   110  หน่วยกิต
1) กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา   30   หน่วยกิ
1.1) รายวิชาบังคับเรียน   12  หน่วยกิต
1.2) รายวิชาเลือกเรียน   18   หน่วยกิต
 
2) กลุ่มวิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์   74    หน่วยกิต
2.1) รายวิชาบังคับเรียน  57 หน่วยกิต
2.2) รายวิชาเลือกเรียน 9  หน่วยกิต
 
2.3) รายวิชาการฝึกภาคสนามหรือสหกิจศึกษา 8  หน่วยกิต
3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6    หน่วยกิต

1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย

1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ

1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ

1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs)

PLO 1 รอบรู้ในศาสตร์ แนวคิดและทฤษฎีสมัยใหม่เกี่ยวกับความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ บูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาสังคมได้อย่างมีความรับผิดชอบ
Sub PLO 1.1 อธิบายแนวคิดและทฤษฎีสมัยใหม่ และคุณลักษณะความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งที่จะนำมาพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้
Sub PLO 1.2 ประยุกต์ใช้ศาสตร์แนวคิด ทฤษฎีสมัยใหม่ในการพัฒนาตนเองให้เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคม มีจิตอาสาและมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม
Sub PLO 1.3 วิเคราะห์หลักการบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ ให้สามารถแก้ไขปัญหาชีวิตครอบครัว และสังคมได้อย่างมีเหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์อย่างมีความรับผิดชอบ

PLO 2 รอบรู้ในศาสตร์ภาษาและเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีความรับผิดชอบ
Sub PLO 2.1 อธิบายการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเบื้องต้นในชีวิตประจำวันได้
Sub PLO 2.2 ประยุกต์ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องตามหลักภาษา เหมาะสมกับสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น แสดงออกถึงการใฝ่รู้ ใฝ่เรียนและเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต
Sub PLO 2.3 เลือกใช้เครื่องมือสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับจุดประสงค์ของการใช้งานโดยคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม

PLO 3 รอบรู้ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนานำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมตามแนวทางพุทธธรรมนำปัญญา เป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมเชิงพุทธ
Sub PLO 3.1 อธิบายหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่นำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
Sub PLO 3.2 นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปฏิบัติเพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาตนเองและสังคมได้
Sub PLO 3.3 ประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมเชิงพุทธ

PLO 4 แสดงออกถึงความเป็นผู้มีธรรมาภิบาล ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ได้
Sub PLO 4.1 อธิบายและยกตัวอย่างหลักธรรมาภิบาล ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ได้
Sub PLO 4.2 อภิปรายคุณค่าของหลักธรรมาภิบาลในการนำไปใช้กับองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน
Sub PLO 4.3 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมาภิบาลที่สอดคล้องตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ได้

PLO 5 จัดการข้อมูล สารสนเทศด้วยเทคนิคและเครื่องมือสมัยใหม่เพื่อการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนได้
Sub PLO 5.1 อธิบายและยกตัวอย่างแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารในการปฏิบัติงานได้
Sub PLO 5.2 ประยุกต์ใช้ข้อมูล สารสนเทศเพื่อการแก้ไขปัญหาในองค์กรภาครัฐและเอกชนได้
Sub PLO 5.3 เผยแผ่ผลงานหรือผลการปฏิบัติงานสู่สาธารณะโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้

PLO 6 ประยุกต์ใช้หลักการ แนวคิด และทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ในการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐและเอกชนได้
Sub PLO 6.1 อธิบายและยกตัวอย่างหลักการ แนวคิด และทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างถูกต้องตามบริบทของแต่ละองค์กร
Sub PLO 6.2 แก้ปัญหาการปฏิบัติงานในองค์กรภาครัฐและเอกชนได้อย่างเป็นระบบ

PLO 7 แสดงออกซึ่งทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลตัวเลขและการนำเสนอผลงานด้วยวาจาและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้
Sub PLO 7.1 อธิบายและยกตัวอย่างหลักการ แนวคิด และทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ การคลังและงบประมาณได้
Sub PLO 7.2 วิเคราะห์ข้อมูลตัวเลขทางเศรษฐศาสตร์ การคลังและงบประมาณในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนได้
Sub PLO 7.3 นำเสนอผลงานด้วยวาจาและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้

 รหัสและชื่อหลักสูตร   
 ประเภทการขอรับทราบ หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงเล็กน้อย)  
 จำนวนปริญญา หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
 เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน 2558  
 วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ 23/02/2564  
 ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน 2561 
  หลักสูตรสังกัดคณะ คณะสังคมศาสตร์ 
  เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   
  ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   
  ปรับปรุงเล็กน้อยครั้งสุดท้ายเมื่อ ภาค: 2 ปี:2561 
 1.1.1 ชื่อภาษาไทย:หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์  
 1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ:Bachelor of Public Administration Program in Public Administration  
 1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน:สถานที่จัดการเรียนการสอนอื่นๆ (โปรดระบุ):มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน  
ระบบจัดการศึกษา  
 1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
 1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน ไม่มี  

โครงสร้างหลักสูตร

๓.๑.๑ จำนวนหน่วยกิต  รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า   ๑๕๑  หน่วยกิต

๓.๑.๒ โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาที่สอดคล้องตามที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้

(๑) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป     ๓๐   หน่วยกิต

๑ กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์      ๖     หน่วยกิต

๑.๒ กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์      ๖     หน่วยกิต

๑.๓ กลุ่มวิชาภาษา    ๑๒   หน่วยกิต

๑.๔ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์    ๖    หน่วยกิต

(๒) หมวดวิชาเฉพาะ  ไม่น้อยกว่า      ๑๑๕ หน่วยกิต

๒.๑ กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๓๐  หน่วยกิต

๒.๑.๑ รายวิชาบังคับเรียน  ๒๔  หน่วยกิต

๒.๑.๒ รายวิชาเลือกเรียน   ๖     หน่วยกิต

๒.๒ กลุ่มวิชาเฉพาะ  ไม่น้อยกว่า   ๘๕  หน่วยกิต

๒.๒.๑ กลุ่มวิชาแกน    ๒๔  หน่วยกิต

๒.๒.๒ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน   ๓๙  หน่วยกิต

๒.๒.๓ กลุ่มวิชาเฉพาะด้านเลือก ๑๕ หน่วยกิต

๒.๒.๔ กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ และวิชาชีพ ๗ หน่วยกิต

(๓) หมวดวิชาเลือกเสรี  ไม่น้อยกว่า  ๖  หน่วยกิต

ข่าวอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มมร.อส

ขอแสดงความยินดีกับ นางสาวพัชรา ภูโท

ขอแสดงความยินดีกับ นางสาวพัชรา ภูโท ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มมร.อส บรรจุเป็นข้าราชการครู ตำแหน่งครูผู้ช่วย @โรงเรียนบ้านท่านางเลื่อนท่าข่อย จ.ขอนแก่น

พระครูประดิษฐ์บุญธรรม มอบทุนการศึกษา จำนวน 35,300 บาท

พระครูประดิษฐ์บุญธรรม มอบทุนการศึกษา จำนวน 35,300 บาท ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

การประชุมวิชาการและนำเสนอผลการวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ได้จัดโครงการประชุมวิชาการและการนำเสนอบทความวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 การพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลักพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน Sustainable Wisdom and Morality…

ขอแสดงความยินดีกับ นางสาวน้ำฝน ไชยเนตร

ขอแสดงความยินดีกับ นางสาวน้ำฝน ไชยเนตร ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มมร.อส บรรจุเป็นข้าราชการครู ตำแหน่งครูผู้ช่วย @โรงเรียนบ้านเซินราษฎร์เกษมศรี จ.หนองบัวลำภู

ขอถวายมุทิตาสักการะ พระมหาวิรุธ วิโรจโน, ผศ.ดร.

ขอถวายมุทิตาสักการะ พระมหาวิรุธ วิโรจโน, ผศ.ดร. หัวหน้าฝ่ายจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาการแทน ผู้อำนวยการวิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยที่…